The Single Best Strategy To Use For ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

กล่าวโดยสรุป ผู้เขียนพบว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทย โดยส่วนใหญ่แล้ว จะเป็นปัญหาที่มาจากปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ (เช่น การขยายขนาดโรงเรียน การเพิ่มจำนวนครู การให้ความรู้แก่บิดามารดา) มากกว่าที่จะมาจากปัจจัยที่คงที่ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (เช่น ความฉลาดทางสติปัญญา) ดังนั้น หากภาครัฐมีการกำหนดเป้าหมายและวิธีการที่เหมาะสม ย่อมสามารถที่จะบรรเทาปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทยให้ลดลงได้

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทยมีทั้งปัจจัยระดับโครงสร้าง และปัจจัยระดับปัจเจกบุคคล จึงทำให้ทิศทางการศึกษาของไทยยุคใหม่มีแนวโน้มทั้งทิศบวก และทิศทางลบ ดังนี้

แผนการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี

It it utilized to work out new and returning visitor stats. The cookie is up-to-date anytime information is sent to Google Analytics. The lifespan in the cookie could be customised by Web-site owners.

ภูมิลำเนา และสภาพแวดล้อมของผู้เรียน

ดร.ไกรยส ภัทราวาท : พลังของทุกคน คือ ผู้เปลี่ยนเกมความเสมอภาคการศึกษาอย่างแท้จริง

ตชด. ที่ทำหน้าที่เป็นนักพัฒนาชุมชน ทำให้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางของความร่วมมือ และสร้างความยั่งยืนให้กับชุมชนในพื้นที่และใกล้เคียง  

ประเทศไทยถูกฉุดรั้งด้วยความเหลื่อมลํ้าทั้งในทางเศรษฐกิจและด้านสังคม

The cookie is about by the GDPR Cookie Consent plugin and is particularly utilized to shop whether or not consumer ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา has consented to the use of cookies. It doesn't shop any particular information.

ช่องว่างของรายได้และทรัพย์สินดังกล่าวส่งผลกระทบทอดยาวไปสู่ความเหลื่อมล้ำด้านอื่นๆ ในสังคม หนึ่งในนั้นคือความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา รายงานเรื่องความไม่เสมอภาคทางการศึกษาของคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) เผยสถานการณ์ปัจจุบันว่า

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเป็นปัญหาที่อยู่กับสังคมไทยมาอย่างยาวนาน และแม้ว่าจะมีการพยายามออกนโยบายต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว แต่ก็ยังไม่สามารถแก้ไขได้อย่างเด็ดขาด โดยนโยบายลดปัญหาในสถานศึกษา และแนวทางการแก้ไขความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา มีดังนี้ 

นอกจากนี้ ยังพบว่าครูจำนวนมากต้องแบกรับภาระหน้าที่ที่หลากหลาย สวนทางกับอัตราค่าจ้างที่ควรจะได้รับ รวมถึงสวัสดิการที่ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ชนบท จึงทำให้ผู้คนจำนวนมากไม่เลือกประกอบอาชีพครู ทำให้นักเรียนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ และไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง จากปัญหาข้างต้นก็อาจสะท้อนได้ในอีกแง่มุมหนึ่งว่า ครูเองก็อาจเป็นผลผลิตมาจากความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในอดีตด้วยเช่นกัน

ฐานะทางสังคม และสภาพเศรษฐกิจที่แตกต่างกันทำให้เกิดปัญหาความไม่เท่าเทียมทางการศึกษา เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจส่งผลต่อความสามารถของครอบครัวในการสนับสนุน หรือส่งเสริมด้านการเรียนของบุตรหลานได้มากน้อยแตกต่างกันไป อาจกล่าวได้ว่าครอบครัวใดที่มีฐานะทางสังคม และสภาพทางเศรฐกิจที่ดี ย่อมมีตัวเลือกในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพมากกว่า ในขณะที่ครอบครัวที่มีสภาพคล่องทางเศรษฐกิจที่น้อยลงมา อาจทำให้โอกาสทางการศึกษาถูกจำกัดให้น้อยลงตามไปด้วย 

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *